การแจ้งที่พักอาศัยการแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน   การแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน หรือ การรายงานตัว 90 วัน ของแรงงานต่างด้าวต่างด้าวที่เข้ามาทำงาน หรือ อยู่อาศัยในราชอาณาจักรไทย ทุกคน ต้องแจ้งที่พักอาศัยแก่เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน ณ.สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง การแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน  "คนต่างด้าว ซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวแล้ว ถ้าอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน คนต่างด้าวผู้นั้นมีหน้าที่ต้องรายงานตัว แจ้งที่พักอาศัยต่อเจ้าพนักงาน สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ทุก 90 วัน หากท้องที่ใดมีที่ทำการตรวจคนเข้าเมืองตั้งอยู่จะแจ้งต่อเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทำการแก่งนั้น ทั้งนี้เป็นไปตามมาตรา 37(5) แห่ง พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522" วิธีการแจ้ง คนต่างด้าวสามารถดำเนินการแจ้งที่พักอาศัยทุก 90 วันได้ทั้งหมด 3 ช่องทาง ดังนี้ คนต่างด้าวแจ้งด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้ผู้อื่นดำเนินการแทน ขั้นตอนนี้ ทางบริษัทนำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศเท็นไมล์เลเบอร์กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด รับดำเนินการแทนคนต่างด้าว มีค่าบริการ 100-200 บาท ใช้ระยะเวลาเพียง  1 วัน รับส่งเอกสารถึงยังสถานประกอบการ สามารถติดต่อดำเนินการแทนคนต่างด้าว ได้ที่ 098-270-4840 หรือ 086-528-4820 คนต่างด้าวสามารถส่งไปรษณีย์แจ้งได้ คนต่างด้าว แจ้งผ่านทางอินเตอร์เน็ต ในเว็ปไซต์ของสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง การแจ้งที่พักอาศัยออนไลน์ คนต่างด้าว ต้องแจ้งที่พักอาศัยก่อน 15 วัน หรือหลัง 7 วัน นับจากวันครบกำหนด หากเกิดกว่ากำหนดนัด หรือเกินกำหนดที่จะต้องแจ้ง คนต่างด้าว แรงงานต่างด้าว คนงานต่างด้าว ต้องมารายงานตัวด้วยตนเองเพื่อดำเนินการเปรียบเทียบปรับ *** กรณีที่เกินกำหนดการแจ้งที่พักอาศัย คนต่างด้าว แรงงานต่างด้าว คนงานต่างด้าว คนงานMOU จะต้องถูกดำเนินการเปรียบเทียบปรับ 2,000 บาท ***   ** กรีณีคนต่างด้าว แรงงานต่างด้าว คนงานต่างด้าว แรงงานนำเข้าMOU ต้องการเดินทางออกนอกประเทศก่อนครบกำหนดรายงานตัวครั้งต่อไป เมื่อเดินทางกลับมาในราชอาณาจักรไทย ให้รายงานตัวแจ้งที่พักครั้งต่อไป เมื่อครบกำหนด 90 วัน นับแต่วันเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรไทยครั้งล่าสุด** การรับแจ้งที่พักอาศัย กรณีคนต่างด้าวอยู่เกิน 90 วัน ไม่ใช่เป็นการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร  คนต่างด้าวที่ แรงงานต่างด้าว หรือ แรงงานนำเข้าMOU เมื่ออยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วันและไม่แจ้งที่พักอาศัยจะต้องเสียค่าปรับจำนวน 2,000 บาท กรณีถูกจับกุมตัวมาไม่ว่ากรณีใดใด ต้องเสียค่าปรับ 5,000 บาท และปรีบอีกไม่เกินวันละ 200 บาท จนกว่าจะปฎิบัติให้ถูกต้อง ตามมาตรา 76 แห่ง พ.ร.บ. คนเข้าเมือง ฯ    ...

  แรงงานต่างด้าวที่เอกสารครบวาระ 4 ปี   ในปี 2566 และ 2567 สามารถดำเนินการยื่นต่อเอกสารแรงงานต่างด้าว ได้อีก 4 ปี โดยได้รับ วีซ่าทำงาน ใบอนุญาตทำงาน คราวละ 2 ปี และสามารถต่อเอกสารแรงงานต่างด้าว ใบอนุญาตทำงาน วีซ่าทำงาน ตรวจโรคต่างด้าว ในประเทศไทยได้อีก  2 ปี รวมวาระการทำงานครั้งใหม่ คือ อีก 4 ปี นายจ้างที่ต้องการต่อเอกสารแรงงานต่างด้าว สามารถสอบถามได้ทันที  แรงงานไม่ต้องพำนัก ณ.ประเทศต้นทาง เอกสารหนังสือเดินทางต้องมีอายุมากกว่า 2 ปี 6 เดือน กรณีเอกสารหนังสือเดินทางของแรงงานต่างด้าว อายุไม่ถึง สามารถทำการขอออกเล่มหนังสือเดินทางของแรงงานต่างด้าวได้ใหม่ณ.สถานฑูตของแรงงานต่างด้าว ประจำประเทศไทย ขั้นตอนไม่ยุ่งยาก ให้ บริษัท นำคนต่างด้าวมาทำงานในประเทศเท็นไมล์เลเบอร์กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด ดำเนินการแทนได้ทันที ค่าใช้จ่ายเพียง 13,000-18,000 เท่านั้น    ต่อเอกสารแรงงานต่างด้าว แรงงานต่างด้าวครบวาระ 4 ปี MOUครบวาระ 4 ปี MOU ครบวาระ ต่อใบอนุญาตทำงาน ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว MOU-RETURN แรงงานต่างด้าว ที่สามารถเข้ามาทำงานในประเทศไทยได้ โดยอาศัยสนธิสัญญาระหว่างประเทศทางด้านการจัดส่งแรงงานข้ามชาติ หรือ ที่เราเรียกกันว่า แรงงาน MOU นั้น ได้กำหนดให้ มี แรงงานจากประเทศเมียนมา แรงงานพม่า แรงงานกัมพูชา และ แรงงานลาว ส่วนแรงงานเวียดนามได้กำหนดในลักษณะของประเภทกิจการก่อสร้างเป็นหลัก แต่คนงานต่างด้าวทั้งหมด ที่สามารถเข้ามาทำงานในประเทศไทยได้นั้น จะต้องทำงานในตำแหน่ง กรรมกร และ แม่บ้าน เท่านั้น  ทั้งนี้ไม่อนุญาตให้กิจการประเภทรับเหมาแรงงาน นำเข้าแรงงานต่างด้าวแบบMOU มาประกอบธุรกิจกรือเป็นลูกจ้างในลักษณะกิจการรับเหมาแรงงาน มาดูกันว่าเมื่อนายจ้าง หรือ ผู้ประกอบการตกลงนำเข้าแรงงานต่างด้าวเข้ามาแล้วนั้น แรงงานต่างด้าว แรงงานนำเข้าแบบ MOU กลุ่มนี้จะมีใบอนุญาตทำงาน ที่ปรากฎชื่อนายจ้างที่ถูกต้อง ด้านหลังบัตรเท่านั้น และจะมีสัญญากับนายจ้างที่มีชื่อหลังบัตรเป็นระยะเวลา  2 ปี  กรณีคนงานต่างด้าว หรือ คนงานนำเข้าแบบMOU แรงงานต่างด้าว MOU ต้องการเปลี่ยนนายจ้าง จะไม่สามารถกระทำได้โดยอิสระ แต่ต้องเข้าเงื่อนไขการเปลี่ยนนายจ้างแรงงานต่างด้าว 6 กรณี ข้างต้น จึงจะสามารถย้ายนายจ้างได้ก่อนครบกำหนดเลิกจ้าง 2 ปี แรงงานต่างด้าวเปลี่ยนนายจ้าง แจ้งเข้า แจ้งออกแรงงานต่างด้าว คนงานต่างด้าว หาคนงานต่างด้าว จัดส่งคนงานต่างด้าว คนงาน MOU คนงานพม่า คนงาลาว คนงานกัมพูชา แรงงานฝ่ายผลิต คนงานฝ่ายผลิต แรงงาน MOU      ...

  การต่ออายุเอกสาร MOU แรงงานต่างด้าวเมื่อครบวาระ 2 ปี   เป็นขั้นตอนที่สำคัญสำหรับนายจ้างและแรงงานต่างด้าวเอง โดยการต่ออายุเอกสาร MOU (Memorandum of Understanding) นี้จะช่วยให้แรงงานต่างด้าวสามารถทำงานในประเทศไทยอย่างถูกกฎหมายต่อไปได้ ขั้นตอนการต่ออายุเอกสาร MOU มีดังนี้: ตรวจสอบเอกสารเดิม: นายจ้างและแรงงานต่างด้าวควรตรวจสอบเอกสาร MOU เดิมว่าใกล้ถึงวันหมดอายุหรือไม่ เพื่อที่จะเริ่มกระบวนการต่ออายุทันเวลา เตรียมเอกสารที่จำเป็น: สำเนาเอกสารบัตรประจำตัวประชาชนของแรงงานต่างด้าว สำเนาเอกสารหนังสือเดินทาง (Passport) เอกสารการทำงาน (Work Permit) เอกสารการตรวจสุขภาพ ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: นายจ้างต้องติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานจัดหางาน หรือกระทรวงแรงงาน เพื่อขอคำแนะนำและยื่นคำขอต่ออายุ MOU ชำระค่าธรรมเนียม: การต่ออายุเอกสาร MOU อาจมีค่าธรรมเนียมบางประการที่ต้องชำระตามที่หน่วยงานกำหนด   รอการอนุมัติ: หลังจากยื่นคำขอต่ออายุเอกสาร MOU แล้ว นายจ้างและแรงงานต่างด้าวต้องรอการอนุมัติจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจใช้เวลาหลายวันหรือสัปดาห์ รับเอกสารใหม่: เมื่อคำขอต่ออายุได้รับการอนุมัติแล้ว นายจ้างและแรงงานต่างด้าวจะได้รับเอกสาร MOU ฉบับใหม่ที่มีอายุการใช้งานต่อไปอีก 2 ปี การต่ออายุเอกสาร MOU อย่างถูกต้องจะช่วยให้แรงงานต่างด้าวสามารถทำงานและอยู่อาศัยในประเทศไทยได้อย่างถูกกฎหมายและปลอดภัย      ...